1. ข้อใดคือหนังสือราชการ?
ตอบ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
2. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ได้ในกรณีใด?
ตอบ การส่งของเอกสาร หรือ บรรสารระหว่างส่วนราชการ
3. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นให้ใช้คำว่าอะไร?
ตอบ เรียน
4. “งานสารบรรณ” มีความหมายตรงกับข้อใด?
ตอบ งานที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารงานเอกสาร
5. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมี 6 ชนิด คือข้อใด?
ตอบ ผิดทุกข้อ
6. กรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน?
ตอบ 3 คน
7. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำลงท้ายให้ใช้คำว่าอะไร?
ตอบ ขอแสดงความนับถือ
8. ระเบียบสำนักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณฉบับปัจจุบันได้ใช้บังคับมาตั้งแต่เมื่อใด?
ตอบ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2526
9. หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป?
ตอบ เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
10. “ประกาศ” จัดเป็นหนังสือชนิดใด?
ตอบ หนังสือประชาสัมพันธ์
11. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณ โดยเจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็วนั้นจะต้องระบุตัวอักษรสีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือและบนซองว่าอย่างไร?
ตอบ ด่วนมาก
12. หนังสือที่ต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ ตรงกับข้อใด?
ตอบ ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และ ด่วนที่สุด
13. อายุของการเก็บหนังสือ มีวิธีการปฏิบัติตามข้อใด?
ตอบ หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
14. การลงวัน เดือน ปี ของหนังสือติดต่อราชการให้ปฏิบัติตามข้อใด?
ตอบ หนังสือภายนอก ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลข ของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ
15. รหัสตัวพยัญชนะหรับสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและสำนักงานเลขาธิการรัฐสภากำหนดไว้ตามข้อใด?
ตอบ ตผ และ สภ
16. คำสรรพนามสำหรับเจ้าของหนังสือว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจากใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินีนาถ แล้วยังใช้ได้ตามข้อใด?
ตอบ ถูกทุกข้อ
17. คำว่า “คำสั่ง” มีความหมายตรงตามข้อใด?
ตอบ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
18. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ?
ตอบ ปลัดสำนักนายยกรัฐมนตรี
19. หนังสือที่ปฏิวัติให้เร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็น?
ตอบ 3 ประเภท
20. เพื่อให้หน่วยราชการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยอย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึงให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยเจ้าของเรื่อง ไว้ใต้ชื่อหน่วยงานที่มุมล่างซ้ายของหนังสือราชการ
21. ทะเบียนงานสารบรรณมี 3 ประเภท คือข้อใด?
ตอบ ทะเบียนรับ,ทะเบียนส่ง และทะเบียนเก็บ
22. ผู้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับระเบียนสำนักงานรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณได้แก่บุคคลใด?
ตอบ ปลัดกระทรวง
23. หนังสือภายใน คือหนังสืออะไร?
ตอบ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยและเป็นหนังสือใช้ติดต่อภายใน
24. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สำรวจหนังสือที่ครบกำหนดอายุการเก็บในปีนั้น หลังวันสิ้นปีปฏิทินภายในกี่วัน?
ตอบ 60 วัน
25. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำเมื่อดำเนินการแล้วเสร็จให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี?
ตอบ 1 ปี
26. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งให้ผู้ใดรักษาราชการแทน?
ตอบ ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า
27. ในกรณีนายกรัฐมนตรีตายหรือขาดคุณสมบัติ คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติ?
ตอบ ปฏิบัติหน้าที่แทน
28. ซองหนังสือมีขนาดใดบ้าง?
ตอบ ซี 4 , ซี 5 , ซี 6 และดีแอล
29. หนังสือภายนอก คือหนังสืออย่างไร?
ตอบ ติดต่อส่วนราชการ
30. ระเบียบงานสารบรรณเป็นระเบียบที่ออกจากหน่วยงานใด?
ตอบ สำนักงานรัฐมนตรี
31. ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือภายนอก?
ตอบ วัน เดือน ปี ไม่ต้องใช้คำว่า วันที่
32. เพราะเหตุใดจึงต้องมีระเบียบงานสารบรรณ?
ตอบ เพื่อให้มีระเบียบเป็นหลักในการปฏิบัติงานบริหารงานด้านเอกสาร
33. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ เป็นหนังสือของส่วนราชการระดับใดขึ้นไป?
ตอบ ระดับกรม
34. ตามระเบียบงานสารบรรณ “ส่วนราชการ” หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ ถูกทุกข้อ
35. ระเบียบงานสารบรรณคืองานที่เกี่ยวกับอะไร?
ตอบ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
36. หนังสือภายในคือหนังสือที่.........?
ตอบ ถูกทุกข้อ
37. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการลงวันที่ในหนังสือภายใน?
ตอบ 2 มิถุนายน 2527
38. ตามระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 คำว่า “หนังสือราชการ” หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
39. ข้อใดคือความมุ่งหมายของหนังสือประทับตรา?
ตอบ เพื่อแบ่งเบาภาระในการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการ
40. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหนังสือประชาสัมพันธ์?
ตอบ แถลงการณ์